เอกสารจากปี 1914 ที่เก็บรักษาอยู่ในห้องสมุดของสถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกา ได้บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเครือข่ายบุคคลและกิจกรรมด้านธรรมชาติวิทยายุคแรกเริ่มในสยาม ซึ่งหนึ่งในชาวสยามเพียงน้อยรายผู้ร่วมกิจกรรมกับเครือข่ายนั้น เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งเอกสารระบุพระนามว่า “Prince of Chumpon”

Writer : นิธิ วติวุฒิพงศ์ ค้นคว้าและเรียบเรียง

19 May 2021

พลิกข้อมูลใหม่ ในพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯ จากหลักฐานกว่าร้อยปีที่ถูกลืม

WRITER : นิธิ วติวุฒิพงศ์ ค้นคว้าและเรียบเรียง

เอกสารจากปี 1914 ที่เก็บรักษาอยู่ในห้องสมุดของสถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกา ได้บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเครือข่ายบุคคลและกิจกรรมด้านธรรมชาติวิทยายุคแรกเริ่มในสยาม ซึ่งหนึ่งในชาวสยามเพียงน้อยรายผู้ร่วมกิจกรรมกับเครือข่ายนั้น เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งเอกสารระบุพระนามว่า “Prince of Chumpon”

แง่คิดชีวิตงาม ตามแนวพระดำริในกรมหลวงชุมพรฯ

WRITER : นิธิ วติวุฒิพงศ์ / ฑิตยา ชีชนะ

เมื่อโมงยามนำวันคืนล่วงสู่ศักราชใหม่ ผู้คนมากมายใช้โอกาสนี้กำหนดความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาตนเองสู่หนทางที่ดีงามยิ่งกว่าเดิม จะเป็นไปได้หรือไม่ว่า พระดำริต่าง ๆ ของกรมหลวงชุมพรฯ อันยังปรากฏสืบมาจนถึงทุกวันนี้ อาจมอบแง่คิดเป็นแนวทางชีวิตแก่พวกเราได้บ้าง

ตามรอยพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯ ณ ริมฝั่งแม่น้ำเทมส์

WRITER : นิธิ วติวุฒิพงศ์

ชื่อ “กรีนิช” เกี่ยวข้องกับการทรงศึกษาวิชาทหารเรือในอังกฤษ ของนายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ อย่างน้อย 2 ช่วงเวลา คือระหว่างทรงเรียนวิชาพื้นฐานเตรียมสอบเข้าโรงเรียนนายเรือในโรงเรียนเตรียมการ (Preparation School) ของนาย William Thomas Littlejohns หรือ W.T. Littlejohns ที่ย่านกรีนิช และระหว่างที่ทรงศึกษาในวิทยาลัยทหารเรือกรีนิช

มุมมอง แง่คิด และแนวทางในการดำเนินชีวิต ตามแบบกรมหลวงชุมพรฯ

WRITER : webmaster

เรื่องราวแห่งพระประวัติในพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรือเกร็ดพระประวัติที่เล่าขานกันมาเป็นเวลากว่า 100 ปี สามารถมอบมุมมอง แง่คิด และแนวทางการดำเนินชีวิตแก่ผู้คนในยุคปัจจุบันอย่างไรบ้าง ?

เบื้องหลังการค้นพบใหม่ พระรูปกับเหล่าพระสหาย ใน Royal Naval College

WRITER : พลเรือตรีหญิง ดร.อารยา อัมระปาล อดีตผู้ทรงคุณวุฒิกองทัพเรือ

นับเป็นบุญตาที่ได้เห็นภาพนี้ จะเห็นได้ว่าพระวรกายเล็กและบางกว่าพระสหายมาก ทรงต้องอดทนฝ่าฟันมากเพียงใดในการฝึกทหารที่หนักหน่วงกับต่างชาติต่างภาษา ทั้งเผชิญอากาศที่หนาวเย็นอย่างยิ่งในท้องทะเล จะทรงผ่านการ “บูลลี่” มาหนักหนาสาหัสเพียงใดที่พระวรกายทรงเล็กกว่า พระพักตร์และสีผิวไม่เหมือนพระสหาย กว่าจะทรงเป็นที่ยอมรับและกลับมาถ่ายทอดศาสตร์แห่งทะเลให้แก่ทหารเรือไทยได้

พระจริยวัตรแห่งองค์บิดาของทหารเรือไทย สู่สามัคคีร่วมใจในบรรดาลูกประดู่

WRITER : ฑิตยา ชีชนะ

… พลทหารเรือ … ถวายฎีการ้องทุกข์ว่า ได้รับความลำบากเพราะอาหารเน่าเสียและมีปริมาณน้อย ทั้งยังต้องถูกนายทหารฝรั่งทุบตบต่อยด้วย … พลตรี สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ เสนาบดีกระทรวงกลาโหมในเวลานั้น … ถวายความเห็นประกอบว่า “… ข้อเดือดร้อนที่ต้องฝรั่งตบตีนั้น ข้อนี้เปนการยากด้วยฝรั่งมันดูถูกไทย ทำเอาตามลำพังใจ ครั้นว่าเราจะไม่รับฝรั่งเปนนายเรือก็ไม่ได้ ด้วยคนไทยยังไม่มีใครรู้วิชาเดินเรือ …

114 ปี แห่งรากฐานของกิจการทหารเรือ จากพระปณิธานแห่งองค์บิดาของทหารเรือไทย

WRITER : นิธิ วติวุฒิพงศ์ / ฑิตยา ชีชนะ

จากพระราชปณิธานในพระปิยมหาราช
สู่ความตั้งพระทัยมั่นแห่งองค์บิดาของทหารเรือไทย ในพระประสงค์ให้สยามมีสมรรถนะด้านการทหารเรือสืบไปในภายหน้า

“กรมหลวงชุมพรฯ” และ “วังนางเลิ้ง” ในความทรงจำ

WRITER : นิธิ วติวุฒิพงศ์ / ฑิตยา ชีชนะ

บทบันทึกความทรงจำถึง “เสด็จในกรมฯ” รวมทั้ง “ชีวิตชาววังนางเลิ้ง”
จากผู้ที่เกิด จำความได้ และเติบใหญ่ภายในรั้ววังแห่งนี้ กระทั่งถึงการสิ้นพระชนม์ของเสด็จในกรมฯ

วิเคราะห์แง่คิด พินิจมุมมอง จากสรรพวิชาและอาคมในกรมหลวงชุมพรฯ

WRITER : ฑิตยา ชีชนะ

จากความสนพระทัยในสรรพศาสตร์และวิชาอาคมในกรมหลวงชุมพรฯ
สู่เรื่องเล่าหลากแง่หลายมุม ที่บางเรื่องก็ยากจะพิสูจน์ด้วยวิทยาศาสตร์
แล้วเราในยุคปัจจุบันจะเรียนรู้อะไรได้บ้าง จากเรื่องลี้ลับเหล่านี้

“หัวใจ” แห่ง “ไสยศาสตร์” ในแบบฉบับกรมหลวงชุมพรฯ

WRITER : ฑิตยา ชีชนะ

จากพระคุณลักษณะของกรมหลวงชุมพรฯ ที่ทรงโปรดการเรียนรู้ ทดลอง และพิสูจน์ สู่ความสนพระทัยศึกษาอย่างจริงจังทาง “ไสยศาสตร์” จนเกิดเป็นเรื่องเล่าน่าอัศจรรย์ สร้างความเลื่อมใสศรัทธาแก่คนรุ่นหลัง แต่อะไรคือ “หัวใจ” ของการศึกษาไสยศาสตร์ในแบบฉบับกรมหลวงชุมพรฯ

1 2 3